กฎหมายเรื่องน่ารู้
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
100%
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับตนแองและครอบครัว I (เกิด ตาย หมั้น-สมรส-หย่า)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับตนแองและครอบครัว II (บุตรบุญธรรม เทคโนโลยีเจริญพันธุ์)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
50%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับตนเองและครอบครัว III (มรดก)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
50%
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติกรรมและสัญญา I (ข้อความคิดทั่วไป ความสามารถของบุคคล)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
100%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติกรรมและสัญญา II (เรื่องเงินทองกับกฎหมาย)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
กฎหมายอาญา
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
50%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
กฎหมายอื่นที่สำคัญ
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
50%
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
กฎหมายระหว่างประเทศ
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สิทธิมนุษยชน
ความหมาย ความสำคัญ แนวคิด และหลักการของสิทธิมนุษยชน
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
50%
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศในเวทีโลกที่มีผลต่อประเทศไทย
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สาระสำคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาและพัฒนาสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

ปัญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศ

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

ปัญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศ (ชุดที่ 1)

HARD

ปัญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศ (ชุดที่ 2)

news

ปัญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศ

เนื้อหา

ปัญหาการเมืองที่สำคัญ

ปัญหาการทุจริต

      การที่นักการเมืองและข้าราชการใช้ตำแหน่งแสวงหาผลประโยชน์ของตนและพวกพ้องด้วยการทุจริตเชิงนโยบาย
การเข้าไปมีบทบาทอยู่ในธุรกิจของเอกชนโดยตรง หรือในรัฐวิสาหกิจ การได้รับผลประโยชน์จากการผูกขาด การได้รับสัมปทานจากทางราชการหรือรัฐวิสาหกิจ การเกิดทุจริตอย่างแพร่หลายทำให้ระบบการเมืองและสังคมไทยไม่สามารถพัฒนาประเทศไปได้ตามเป้าหมาย นอกจากนี้คนในสังคม
บางส่วนยังมีแนวคิดว่าการทุจริตเป็นเรื่องธรรมดาหากตน
ไม่ได้รับความเสียหาย การกินตามน้ำเป็นเรื่องปกติ


ปัญหาการยอมรับอำนาจนอกระบบ

      ในสังคมไทยมีความเชื่อที่ไม่สอดรับกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอยู่ คือการที่เมื่อเกิดความรุนแรงทาง
การเมืองอันเนื่องมาจากประชาชนมีความเห็นทางการเมืองที่แตกต่างกันหรือเมื่อนักการเมืองไม่สามารถแก้ไขปัญหา
บ้านเมืองได้ จะมีกลุ่มคนที่เรียกร้องให้กองทัพออกมาทำการรัฐประหารล้มรัฐบาลเดิม โดยเชื่อว่าการทำรัฐประหารเป็นการแก้ไขปัญหา

      ในความเป็นจริง ระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ได้กำหนดทางออกเอาไว้แล้ว โดยเมื่อนักการเมืองคนใดไม่เป็นที่ปรารถนาของประชาชนแล้ว เมื่อการเลือกตั้งครั้งใหม่มาถึง ประชาชนก็เพียงแต่ไม่เลือกนักการเมืองคนนั้นกลับมาดำรงตำแหน่งอีก หรืออีกทางหนึ่งคือ การที่ประชาชนร่วมกันเข้าชื่อถอดถอนนักการเมืองคนนั้นออกจากตำแหน่ง


ปัญหาการขาดการมีส่วนร่วมทาง
การเมืองของประชาชน

      คนไทยส่วนใหญ่เชื่อว่าการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนจำกัดอยู่เพียงแค่การไปเลือกตั้ง เมื่อใช้สิทธิเลือกตั้งแล้วประชาชนไม่มีสิทธิจะเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองต่อไป ความเข้าใจแบบนี้เป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง
เพราะนอกจากการใช้สิทธิเลือกตั้งแล้ว ประชาชนยังมีสิทธิการจัดตั้งพรรคการเมืองหรือเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของพรรคการเมือง หรือการตรวจสอบการทำงานของนักการเมือง และการใช้สิทธิแสดงความคิดเห็นทางการเมือง เคลื่อนไหวประท้วงรัฐบาล การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาชนเป็นหัวใจสำคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย


ปัญหาการไม่ยอมรับความแตกต่างทางความคิดเห็นทางการเมือง

      แม้ประเทศไทยจะปกครองในระบอบประชาธิปไตย
แต่อย่างไรก็ตาม จิตสำนึกทางประชาธิปไตยของประชาชนไทยยังคงต้องพัฒนาต่อไปอีกมาก การยอมรับความแตกต่างทางความคิดเห็นเป็นเรื่องพื้นฐานที่ในสังคมประชาธิปไตย
ทุกสังคมจะต้องมีอยู่


ปัญหาองค์กรตุลาการไทยกับประชาธิปไตย

      องค์กรตุลาการหรือศาลมีความสำคัญอย่างมากในการควบคุมการใช้อำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารไม่ให้เป็นไปตามอำเภอใจ บทบาทของศาลในรัฐที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยจึงไม่ใช่แค่ผู้ตัดสินคดีความ
ข้อพิพาทเท่านั้น แต่ในขณะเดียวกันศาลยังเป็นองค์กรที่พิทักษ์สิทธิและเสรีภาพของประชาชนด้วย

      อย่างไรก็ตามในประเทศไทยพบว่า ในช่วง 15 ปี
ที่ผ่านมา องค์กรตุลาการหรือศาลนั้นถูกวิพากษ์วิจารณ์เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะเกี่ยวกับการยอมรับประกาศของคณะรัฐประหารหรือคำสั่งของคณะรัฐประหารเป็นกฎหมายที่มีผลใช้บังคับในรัฐ จึงถูกวิจารณ์ว่าศาลกลายเป็นเครื่องมือสร้างความชอบธรรมให้กับการรัฐประหาร หรือเป็นเครื่องมือทางการเมือง รวมไปถึงการวิพากษ์วิจารณ์การปฏิบัติหน้าที่ของศาลในสังคมก็ไม่สามารถกระทำได้โดยมีอิสระอย่างเต็มที่ คำถามสำคัญจึงอยู่ที่ว่า สิทธิและเสรีภาพของประชาชนจะได้รับประกันอย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ หากองค์กรที่มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจของฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติดำเนินงานในลักษณะที่รับรองความชอบธรรมให้กับอำนาจทาง
การเมืองนอกระบบ


แนวทางการแก้ไขปัญหาการเมือง

      แนวทางการแก้ปัญหาการเมืองที่สำคัญ คือ การเพิ่มบทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เพราะประชาชนคือคนสำคัญที่สุด ประชาชนทุกคนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย อย่างไรก็ตาม หากประชาชนที่เป็นเจ้าของอำนาจที่แท้จริงนั้นยังไม่ตระหนักถึงอำนาจที่ตนมีอยู่ สิ่งที่จะแก้ไขปัญหานี้ได้ คือ การที่พลเมืองจะต้องเป็นพลเมืองกระตือรือร้น (Active Citizen) เป็นประชาชนที่พร้อมด้วยแนวคิดประชาธิปไตย
มีความกระตือรือร้นที่จะปกป้องคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของตน และคุ้มครองประโยชน์สาธารณะเป็นสำคัญ

      ผลดีของการที่ประชาชนมีความกระตือรือร้นนั้นเป็นดังนี้ คือ

  1. ถ้าประชาชนให้ความสำคัญและเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองก็จะเป็นการตรวจสอบการทำงานของนักการเมือง เพราะนอกจากการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยกลไกต่างๆ ของรัฐแล้ว ประชาชนคือ
    ผู้มีบทบาทสำคัญ หากประชาชนตระหนักถึงส่วนได้ส่วนเสียของตนเอง แล้วต่างช่วยกันสอดส่อง การทุจริตก็จะลดลง เสมือนสาดไฟสปอตไลท์ไปที่ใดที่นั่นก็จะสว่างเห็นได้ชัดเจน
  2. เป็นการเพิ่มบทบาทการเข้าไปมีส่วนร่วมของประชาชนในทางการเมือง เพิ่มบทบาทให้กับประชาชนในฐานะเจ้าของอำนาจที่แท้จริงในรัฐ
  3. หากประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น
    ผู้ที่จะฉวยโอกาสจากความวุ่นวายทางการเมืองและ
    เรียกร้องให้มีการอาศัยอำนาจนอกระบบมาแก้ไขปัญหา
    จะไม่เกิดขึ้น

      ปัญหาการไม่ยอมรับความแตกต่างทางความคิดเห็นนั้นสามารถแก้ไขได้ โดยการส่งเสริมให้บุคคลมีทัศนคติเปิดรับความหลากหลาย ระบอบประชาธิปไตยที่เป็นเสมือนหม้อหลอมรวมความแตกต่างทางความคิดเห็น ยิ่งมีการถกเถียงหรือยิ่งมีการแสดงความคิดเห็นที่แตกต่าง ยิ่งนำไปสู่การหาหนทางในการแก้ไขปัญหาที่หลากหลาย ความแตกต่างทางความคิดเห็นทางการเมืองเป็นเรื่องปกติของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งนอกจากจะต้องเตรียมประชาชนที่มีความกระตือรือร้นในการมีส่วนร่วมแล้ว ประชาชนยังต้องเปิดรับความหลากหลายทางความคิดเห็นอีกด้วย

      ปัญหาองค์ตุลาการไทยกับประชาธิปไตย ปัญหาข้อนี้เป็นปัญหาสำคัญ ในฐานะที่องค์กรตุลาการหรือศาลเป็นองค์กรผู้ใช้อำนาจอธิปไตยในระดับเดียวกับรัฐสภาและรัฐบาลแล้ว จำเป็นต้องตระหนักถึงหน้าที่ของตนในฐานะที่เป็นองค์กรตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐและประกันสิทธิและเสรีภาพให้กับประชาชน การใช้อำนาจขององค์กรตุลาการหรือศาล
จึงต้องใช้อำนาจโดยเป็นกลาง เพราะศาลควรดำรงตนเป็นแหล่งที่พึ่งสุดท้ายของความเป็นธรรมในสังคม

ทีมผู้จัดทำ