ความน่าจะเป็น
แฟคทอเรียล และ กฎการนับเบื้องต้น
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น I
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น II
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
วิธีจัดหมู่
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ทฤษฎีบททวินาม
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การทดลองสุ่ม
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คุณสมบัติการบวกของความน่าจะเป็น
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คุณสมบัติการคูณของความน่าจะเป็น
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

คุณสมบัติการคูณของความน่าจะเป็น

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

คุณสมบัติการคูณของความน่าจะเป็น

MEDIUM

คุณสมบัติการคูณของความน่าจะเป็น

HARD

คุณสมบัติการคูณของความน่าจะเป็น

เนื้อหา

คุณสมบัติการคูณ
ของความน่าจะเป็น

บทสุดท้ายนี้ เราจะมาศึกษาคุณสมบัติการคูณ ซึ่งเราควรแยกแยะกับคุณสมบัติการบวกให้ดี

  • ให้ A และ B เป็นเหตุการณ์ของแซมเปิลสเปซ S 
    จะได้ว่า
      A และ B spaceเป็นอิสระต่อกัน ก็ต่อเมื่อ

          P left parenthesis A intersection B right parenthesis equals P open parentheses A close parentheses cross times P open parentheses B close parentheses

ดังนั้น คุณสมบัติข้อนี้เราสามารถใช้ได้ ทั้งจากซ้ายไปขวา และ จากขวาไปซ้าย นั่นคือ

ถ้า A และ B เป็นอิสระต่อกัน
แล้ว P left parenthesis A intersection B right parenthesis equals P open parentheses A close parentheses cross times P open parentheses B close parentheses
ถ้า P left parenthesis A intersection B right parenthesis equals P open parentheses A close parentheses cross times P open parentheses B close parentheses 
แล้ว A และ B เป็นอิสระต่อกัน

ข้อสังเกตุ เหตุการณ์ 2 เหตุการณ์เป็นอิสระต่อกัน ก็ต่อเมื่อ ผลของเหตุการณ์หนึ่งไม่มีผลต่ออีกเหตการณ์หนึ่ง

คุณสมบัติข้อนี้สามารถขยายไปถึงเหตุการณ์ที่มากกว่า 2 เหตุการณ์ได้ ดังนี้

ให้ A subscript 1 comma A subscript 2 comma... comma A subscript nเป็นเหตุการณ์ n เหตุการณ์ที่เป็นอิสระต่อกัน เราจะได้ว่า
 
begin mathsize 14px style P open parentheses A subscript 1 intersection A subscript 2 intersection... intersection A subscript n close parentheses equals P open parentheses A subscript 1 close parentheses P open parentheses A subscript 2 close parentheses... P open parentheses A subscript n close parentheses end style
หมายเหตุ อินเตอร์เซกชัน หรือ intersection ในภาษาพูด คือ คำว่า “และ” เราใช้เมื่อต้องการเหตุการณ์ทั้งหมดให้เกิดขึ้น

เพราะฉะนั้น P open parentheses A subscript 1 intersection A subscript 2 intersection... intersection A subscript n close parentheses คือ ความน่าจะเป็นที่จะเกิดเหตุการณ์

A subscript 1 comma A subscript 2 comma... comma A subscript n minus 1 end subscript และ A subscript n

ตัวอย่าง

  1. การโยนเหรียญ 2 ครั้ง
    ให้ A เป็นเหตุการณ์ที่ครั้งแรกได้หัว
        B เป็นเหตุกาณ์ที่ครั้งที่ 2 ได้ก้อย
    สองเหตุการณ์นี้เป็นอิสระต่อกัน เพราะ การโยนเหรียญแต่ละครั้ง ผลที่ได้ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน
    ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่ผลที่ได้จากการโยนเหรียญ 2 ครั้ง เป็นหัว และ ก้อย ตามลำดับ คือ
        
         P left parenthesis A intersection B right parenthesis equals P open parentheses A close parentheses cross times P open parentheses B close parentheses
space space space space space space space space space space space space space space space equals 1 half cross times 1 half
space space space space space space space space space space space space space space space equals 1 fourth
  2. การโยนลูกเต๋า 3 ครั้ง พิจารณาโอกาสที่ได้จะได้
            1 หรือ 2 ในครั้งแรก
            3 หรือ 4 ในครั้งที่สอง
            และ 5 ในครั้งที่สาม
    ความน่าจะเป็นที่ทอยลูกเต๋าครั้งแรกแล้วได้
    1 หรือ 2 คือ   P open parentheses open curly brackets 1 comma 2 close curly brackets close parentheses equals 2 over 6 equals 1 third
    ความน่าจะเป็นที่ทอยลูกเต๋าครั้งที่สองแล้วได้
    3 หรือ 4 คือ   P open parentheses open curly brackets 3 comma 4 close curly brackets close parentheses equals 2 over 6 equals 1 third
    ความน่าจะเป็นที่ทอยลูกเต๋าครั้งที่สามแล้วได้
    5 คือ    P open parentheses open curly brackets 5 close curly brackets close parentheses equals 1 over 6
    เนื่องจากการทอยลูกเต๋าแต่ละครั้งเป็นอิสระต่อกัน เราจะได้ว่า ความน่าจะเป็นที่ต้องการ คือ 
           1 third cross times 1 third cross times 1 over 6 equals 1 over 54