ความน่าจะเป็น
แฟคทอเรียล และ กฎการนับเบื้องต้น
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น I
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น II
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
วิธีจัดหมู่
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ทฤษฎีบททวินาม
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การทดลองสุ่ม
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คุณสมบัติการบวกของความน่าจะเป็น
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คุณสมบัติการคูณของความน่าจะเป็น
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

วิธีจัดหมู่

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

วิธีจัดหมู่

MEDIUM

วิธีจัดหมู่

HARD

วิธีจัดหมู่

เนื้อหา

การจัดกลุ่มของสิ่งของที่
แตกต่างกันทั้งหมด

เมื่อเราต้องการเลือกตัวอักษร A, B, C และ D มา 3 ตัวเพื่อเรียงแถวหน้ากระดาน จากหัวข้อก่อนหน้านี้เราสามารถทำได้ P subscript 4 comma 3 end subscript space equals space 4 x 3 x 2 space equals space 24 spaceแบบ ดังแสดงได้ในตารางต่อไปนี้

ABCACBBCABACCABCBA
ABDADBBADBDADABDBA
ACDACDCADCDADACDCA
BCDBDCCBDCDBDBCDCB
จากการเรียงทั้ง 24 แบบนี้ หากเราไม่สนใจลำดับของตัวอักษร แต่เพียงสนใจว่าตัวอักษรใดบ้างที่ถูกเลือกมา จะพบว่ามีการเรียงจำนวนหนึ่งในตารางนี้ที่ถือว่าเป็นวิธีเดียวกัน เช่น ABC, ACB, BCA, BAC, CAB และ CBA ซึ่งการเรียงทั้งหมดนี้ถูกมองว่าเป็นวิธีการเดียวกันเนื่องจากมีตัวอักษร A, B และ C เหมือนกัน
จากตารางข้างต้นเราพบว่า การเรียงในแถวเดียวกันของตารางจะมาจากการเลือกตัวอักษรที่เหมือนกัน นั่นคือ หากเราต้องการหาวิธีที่แตกต่างกันของการเลือกตัวอักษร 3 ตัวจาก 4 ตัวนี้ เราสามารถหาได้จากการนำการเรียงตัวเลขของแต่ละแถวมาหนึ่งตัวแล้วเขียนให้อยู่ในรูปของเซต จะได้การเลือกดังนี้ {A, B, C}, {A, B, D}, {A, C, D} และ {B, C, D} สังเกตว่าจำนวนวิธีการเลือกตัวอักษรจะเท่ากับจำนวนแถวของตาราง
จากตัวอย่างข้างต้น เราสามารถคำนวณในกรณีทั่วไปในการหาจำนวนวิธีการเลือกสิ่งของ r สิ่งจาก n สิ่งได้ โดยการเรียงตัวอักษร r ตัวจาก n ตัว ที่มีทั้งหมด
Pn,r วิธีนี้ มาใส่ในตาราง
โดยที่การเรียงตัวอักษรที่ถูกเลือกมาเหมือนกันให้อยู่ในแถวเดียวกันของตาราง ทำให้แต่ละแถวมีสมาชิก r! ตัวซึ่งเกิดจากการเรียงของ r สิ่ง จำนวนวิธีการเลือกจะมีค่าเท่ากับจำนวนแถวของตาราง ซึ่งหาได้ดังนี้
  • จำนวนวิธีการเลือกของ = จำนวนแถวของตาราง
     r สิ่งจาก n สิ่ง      = (จำนวนการเรียงทั้งหมด)/
                             (จำนวนสมาชิกในแต่ละแถว)
                            = Pn,r /r!
    นั่นคือมีการเลือกตัวอักษรที่แตกต่างกัน
            n!/(n-r)!r! วิธีนั่นเอง
    ในที่นี้เราใช้สัญลักษณ์ Cn,r เพื่อแทนจำนวนวิธีการเลือกสิ่งของ r สิ่งจาก n สิ่งโดยไม่สนใจลำดับ
    ซึ่งจะได้ Cn,r= n!/(n-r)!r!