ความน่าจะเป็น
แฟคทอเรียล และ กฎการนับเบื้องต้น
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น I
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น II
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
วิธีจัดหมู่
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ทฤษฎีบททวินาม
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การทดลองสุ่ม
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คุณสมบัติการบวกของความน่าจะเป็น
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คุณสมบัติการคูณของความน่าจะเป็น
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

การทดลองสุ่ม

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

การทดลองสุ่ม

MEDIUM

การทดลองสุ่ม

HARD

การทดลองสุ่ม

เนื้อหา

การทดลองสุ่ม

ในบทนี้เรามาเรียนรู้องค์ประกอบแรกของทฤษฎีความน่าจะเป็นกันก่อน นั่นคือ การทดลองสุ่ม

การทดลองสุ่ม

การทดลองสุ่ม คือ การทดลอง หรือ การดำเนินการ ที่เราทราบผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด แต่ไม่ทราบผลลัพธ์แน่ชัดในการทดลอง หรือ การดำเนินการ แต่ละครั้ง
เช่น การโยนเหรียญ การทอยลูกเต๋า การเล่นไพ่ การเล่นเป่ายิ้งฉุบ เป็นต้น 
การทดลองสุ่มมีองค์ประกอบหลัก 2 อย่าง คือ แซมเปิลสเปซ และ เหตุการณ์
แซมเปิลสเปซ คือ เซตของผลลัพธ์ทั้งหมดของการทดลอง หรือ การดำเนินการของการทดลองสุ่มข้างต้น โดยทั่วไปแล้วเราจะใช้สัญลักษณ์ S ซึ่งมาจากคำว่า Sample Space
เหตุการณ์ คือ สับเซตใดๆ ของแซมเปิลสเปซ นั่นคือ E เป็นเหตุการณ์ของ S ก็ต่อเมื่อ E subset of or equal to S
ข้อสังเกตุ สำหรับทุกแซมเปิลสเปซ S จะมี S subset of or equal to S และ S เป็นเหตุการณ์เสมอ

ขนาดของเซต

กำหนดให้ S เป็นเซตจำกัด นั่นคือ ขนาดของเซต S หรือ n open parentheses S close parentheses less than infinity มีค่าจำกัด และ
กำหนดให้ E เป็นเหตุการณ์ของ S จะได้ว่า

0 less or equal than n open parentheses E close parentheses less or equal than n open parentheses S close parentheses

n open parentheses E close parentheses equals 0 ก็ต่อเมื่อ E equals empty set

n open parentheses E close parentheses equals n open parentheses S close parentheses ก็ต่อเมื่อ E equals S

ตัวอย่าง

  1. การโยนเหรียญมีแซมเปิลสเปซ S equals open curly brackets H comma T close curly brackets เมื่อ H แทนหัว และ T แทนก้อยเหตุการณ์ทั้งหมด คือ empty set comma space open curly brackets H close curly brackets comma space open curly brackets T close curly brackets และ open curly brackets H comma T close curly brackets
    เมื่อพิจารณาขนาดของเซต เราจะได้ว่า
    n open parentheses empty set close parentheses equals 0 space n open parentheses open curly brackets H close curly brackets close parentheses space equals space n open parentheses open curly brackets T close curly brackets close parentheses space equals 1 และ
    n open parentheses S close parentheses equals n open parentheses open curly brackets H comma T close curly brackets close parentheses equals 2
  2. มีลูกบอล 7 ลูก สีแดง 3 ลูก สีเขียว 4 ลูก อยู่ในกล่องปิดทึบ หยิบลูกบอล 2 ลูกจากกล่อง พิจารณาเหตุการณ์ที่จะได้ลูกบอลสีเดียวกัน

    ในที่นี้ S คือเซตของวิธีการหยิบลูกบอล 2 ลูกทั้งหมด เพราะฉะนั้น
           n open parentheses S close parentheses equals open parentheses table row 7 row 2 end table close parentheses equals fraction numerator 7 factorial over denominator 2 factorial 5 factorial end fraction equals 21
    และ E คือ เหตุการณ์ที่หยิบลูกบอล 2 ลูก
    แล้วได้ สีเดียวกัน นั่นคือ แดงทั้งคู่ หรือ เขียวทั้งคู่
    เราจะพิจารณา 2 เหตุการณ์ย่อยแยกกัน
    สำหรับ สีแดงทั้งคู่ จำนวนวิธีทั้งหมด คือ
               open parentheses table row 3 row 2 end table close parentheses equals fraction numerator 3 factorial over denominator 2 factorial 1 factorial end fraction equals 3
    สำหรับ เขียวทั้งคู่ จำนวนวิธีทั้งหมด คือ
               open parentheses table row 4 row 2 end table close parentheses equals fraction numerator 4 factorial over denominator 2 factorial 2 factorial end fraction equals 6
    เนื่องจากทั้งสองเหตุการณ์ย่อยไม่มีส่วนร่วมกัน
    จากกฎการบวกในการนับ เราจะได้ว่า
              n open parentheses E close parentheses equals 3 plus 6 equals 9