ความน่าจะเป็น
แฟคทอเรียล และ กฎการนับเบื้องต้น
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น I
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น II
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
วิธีจัดหมู่
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ทฤษฎีบททวินาม
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การทดลองสุ่ม
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คุณสมบัติการบวกของความน่าจะเป็น
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คุณสมบัติการคูณของความน่าจะเป็น
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

คุณสมบัติการบวกของความน่าจะเป็น

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

คุณสมบัติการบวกของความน่าจะเป็น

MEDIUM

คุณสมบัติการบวกของความน่าจะเป็น

HARD

คุณสมบัติการบวกของความน่าจะเป็น

เนื้อหา

คุณสมบัติการบวก
ของความน่าจะเป็น

หลังจากรู้จักกับความน่าจะเป็น บทนี้ และ บทสุดท้าย เราจะมาเรียนรู้คุณสมบัติพื้นฐานของความน่าจะเป็นกัน คุณสมบัติแรกคือคุณสมบัติการบวก ซึ่งเราจะเข้าใจได้ง่ายขึ้นหากมีพื้นฐานความรู้ด้านเซตที่ดี เราจึงควรศึกษาเรื่องเซตให้ชำนาญมาก่อน

คุณสมบัติ

ให้ A และ B เป็นเหตุการณ์ของแซมเปิลสเปซ S จะได้ว่า
1. P open parentheses A union B close parentheses equals P open parentheses A close parentheses plus P open parentheses B close parentheses minus P left parenthesis A intersection B right parenthesis
2. P open parentheses A minus B close parentheses equals P open parentheses A close parentheses minus P left parenthesis A intersection B right parenthesis
3. P open parentheses A apostrophe close parentheses equals 1 minus P open parentheses A close parentheses


หมายเหตุ ยูเนียน หรือ union ในภาษาพูดทาง
             ความน่าจะเป็น คือคำว่า “หรือ”
             เพราะฉะนั้น P open parentheses A union B close parentheses คือความ
             น่าจะเป็นที่จะเกิดเหตุการณ์ A หรือ B
             คำว่า “หรือ” นั้นใช้ในกรณีที่ เหตุการณ์ใด
             เหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นก็เพียงพอ

ข้อสังเกตุ ถ้าสองเหตุการณ์ AและB ไม่มีส่วนร่วมกัน
             นั่นคือ A intersection B equals empty set เราจะได้ว่า 
             P open parentheses A union B close parentheses equals P open parentheses A close parentheses plus P open parentheses B close parentheses

ตัวอย่าง

  • การทอยลูกเต๋า มีแซมเปิลสเปซ คือ

            S equals open curly brackets 1 comma 2 comma 3 comma 4 comma 5 comma 6 close curly brackets

    พิจารณา เหตุการณ์ 
     
           A equals open curly brackets 1 comma 2 comma 4 close curly brackets และ B equals open curly brackets 2 comma 3 close curly brackets

    จะได้ A union B equals open curly brackets 1 comma 2 comma 3 comma 4 close curly brackets space A intersection B equals open curly brackets 2 close curly brackets
           A minus B equals open curly brackets 1 comma 4 close curly brackets  และ B apostrophe equals open curly brackets 1 comma 4 comma 5 comma 6 close curly brackets

    ในภาษาพูด A union B คือ เหตุการณ์ที่จะทอยลูกเต๋า
    ได้ผลลัพธ์อยู่ใน open curly brackets 1 comma 2 comma 4 close curly brackets หรือ open curly brackets 2 comma 3 close curly brackets
    ความน่าจะเป็นที่ได้ก็คือ


  1. P open parentheses A close parentheses equals 3 over 6 equals 1 half
  2. P open parentheses B close parentheses equals 2 over 6 equals 1 third
  3. P open parentheses A union B close parentheses equals 4 over 6 equals 2 over 3
  4. P open parentheses A intersection B close parentheses equals 1 over 6
  5. P open parentheses A minus B close parentheses equals 2 over 6 equals 1 third
  6. P open parentheses B apostrophe close parentheses equals 4 over 6 equals 2 over 3
  • คราวนี้เรามาลองใช้คุณสมบัติการบวกกันบ้าง
  1. P open parentheses A union B close parentheses equals P open parentheses A close parentheses plus P open parentheses B close parentheses minus P left parenthesis A intersection B right parenthesis
                equals 3 over 6 plus 2 over 6 plus 1 over 6
equals 4 over 6
equals 2 over 3
  2. P open parentheses A minus B close parentheses equals P open parentheses A close parentheses minus P left parenthesis A intersection B right parenthesis
                equals 3 over 6 minus 1 over 6
equals 2 over 6
equals 1 third
  3. P open parentheses B apostrophe close parentheses equals 1 minus P open parentheses B close parentheses
            equals 1 minus 2 over 6
equals 4 over 6
equals 2 over 3

ซึ่งเราจะเห็นได้ว่า คุณสมบัติการบวกให้ผลที่ตรงกับ
                      การคำนวณโดยตรงทางด้านบนทั้งหมด