เมื่อ
สมการที่เขียนในรูป ax + by =c เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริง เรียกว่าสมการเชิงเส้นที่มีตัวแปร 2 ตัว คือ x และ y ซึ่งจะเป็นสมการเส้นตรง ส่วน ax + by + cz = d โดยที่ a, b, c และ d เป็นจำนวนจริง จะเป็นสมการเชิงเส้น 3 ตัวแปร คือ x, y และ z ซึ่งสมการ 3 ตัวแปรนี้จะเป็นสมการของระนาบ
ระบบสมการเชิงเส้น จะประกอบด้วยสมการเชิงเส้น m สมการ และมีตัวแปร n ตัว เขียนได้ในรูปทั่วไปดังนี้
เมื่อ เป็นสัมประสิทธิ์ของตัวแปร
และ
เป็นค่าคงที่ของระบบ
เราสามารถเขียนระบบสมการเชิงเส้น (1) ในรูปเมตริกซ์ ได้ดังนี้ AX = B
โดยที่ เป็นเมตริกซ์สัมประสิทธิ์ (Coefficient Matrix)
X = เป็นเมตริกซ์ของตัวแปร และ B =
เป็นเมตริกซ์ของค่าคงที่
1) ขัดแย้ง (Inconsistance)
2) มีคำตอบเพียง 1 ชุดเท่านั้น (Unique Solution)
3) มีคำตอบหลายชุดหรืออนันต์ (Infinite Solution)
ตัวอย่างของระบบสมการเชิงเส้นที่มี 2 สมการ 2 ตัวแปร ถ้ากราฟของสมการ เป็นเส้นตรง 2 เส้น ตัดกันเพียงจุดเดียว ดังรูป (ก) จะมีคำตอบเดียว ถ้ากราฟของสมการทั้ง 2 เป็นเส้นตรงเส้นเดียวกันดังรูป (ข) จะมีคำตอบมากมาย เป็นอนันต์ และถ้ากราฟของสมการทั้ง 2 เป็นเส้นตรงที่ขนานกัน ดังรูป (ค) จะไม่มีคำตอบ คือ เป็นสมการที่ขัดแย้งกัน
(ก) (ข) (ค)
จะกล่าวถึงวิธีการแก้สมการเชิงเส้นที่มีจำนวนสมการเท่ากับจำนวนตัวแปร 2 วิธี คือ
1. โดยใช้กฎของเครเมอร์
2. โดยใช้เมตริกซ์ผกผัน
นายเกรบริล เครเมอร์ (Gabriel Cramer) นักคณิตศาสตร์ชาวสวิสเป็นผู้คิดค้นกฎการแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้ดีเทอร์มินันต์ขึ้นเป็นคนแรก การแก้ระบบสมการเชิงเส้น n สมการและมีตัวไม่ทราบค่า n ตัว
โดยที่จากสมการนี้สามารถหาได้ในรูปของดีเทอร์มินันต์ ดังตัวอย่างเช่น
จากสมการสองสมการมีตัวไม่ทราบค่าสองตัวจะมีรากสมการดังนี้
และ![]()
โดยที่เลขตัวเศษและตัวส่วนใน (2) จะแสดงในรูปดีเทอร์มินันต์ เพื่อหารากสมการ (1) ได้ดังนี้
และ
(3)
สำหรับระบบสมการเชิงเส้น n สมการ มีตัวไม่ทราบค่า n ตัว(4)
สามารถเขียนให้อยู่ในรูปของสมการเมตริกซ์ ได้เป็น
หรือ AX = B
เนื่องจาก det A ≠ 0 ดังนั้นสามารถหาได้
ซึ่งจะได้![]()
(adj A)B
ทำให้ได้
ให้เป็นเมตริกซ์ที่ได้มาจากการแทนที่หลักที่ i ของเมตริกซ์ A ด้วยเมตริกซ์ B นั่นคือ
=
โดยใช้หลักที่ i ของเมตริกซ์กระจายโคแฟคเตอร์ หรือหา
จะทำให้ได้
ตัวอย่าง 1 จงใช้กฎของเครเมอร์หารากของสมการ
วิธีทำ
เนื่องจาก![]()
ถ้าระบบสมการเอกพันธ์ (Homogeneous) AX = 0 ที่มีตัวไม่รู้ค่า n ตัว และ det(A) ≠ 0 แล้วจะได้ว่า ระบบสมการเอกพันธ์มีคำตอบเพียงชุดเดียวเท่านั้น คือ เรียกคำตอบนี้ว่า
คำตอบที่สำคัญน้อย (Trivial Solution)
ตัวอย่าง 2 จงแก้ระบบสมการ
วิธีทำ
เนื่องจากเป็นสมการเอกพันธ์ ซึ่ง
และและ
![]()
ถ้าระบบสมการไม่เป็นเอกพันธ์ (Non - Homogeneous) AX = B โดยที่ det(A) = 0 และ ; j = 1,2,…,n แล้วจะได้ว่า ระบบสมการไม่มีคำตอบ
ตัวอย่าง 3 จงแก้ระบบสมการ
x + y = 1
x + y = 0
วิธีทำ
สมการในรูปของเมตริกซ์ คือ =
เป็นสมการไม่เอกพันธ์ ที่มี
และ
ตัวอย่าง 4 จงแก้ระบบสมการ
วิธีทำ จากระบบสมการที่กำหนดให้ จะได้ว่า
และแสดงว่า A เป็นเมตริกซ์ Non-Singular