เสียง: ความเข้มเสียง การสั่นพ้อง ดอปเปลอร์ (1)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

เสียง: ความเข้มเสียง การสั่นพ้อง ดอปเปลอร์ (1) (ชุดที่ 1) Pre test

MEDIUM

เสียง: ความเข้มเสียง การสั่นพ้อง ดอปเปลอร์ (1) (ชุดที่ 2) Post test

HARD

เสียง: ความเข้มเสียง การสั่นพ้อง ดอปเปลอร์ (1) (ชุดที่ 3) Post test

เนื้อหา

เสียง (1)

คลื่นเสียง

เสียง เป็นคลื่นกล การเคลื่อนที่ของเสียงอาศัยตัวกลางในการถ่ายโอนพลังงานการสั่นจากแหล่งกำเนิดเสียงผ่านอนุภาคของตัวกลาง โดยลักษณะการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลางจะอยู่ในรูปของคลื่นตามยาว

ความเร็วเสียง     v equals s over t   และ    v equals f lambda
  1. สมบัติของเสียง
    • การเคลื่อนที่ของเสียง (Sound propagation): เป็นการแผ่กระจายแบบ 3 มิติ แบบทรงกลม
    • การเคลื่อนที่ของเสียงผ่านตัวกลาง: ความถี่จะมีค่าคงที่ โดยความเร็วของเสียงขึ้นกับชนิดของตัวกลางและอุณหภูมิ

      v space alpha space square root of T
v subscript 1 over v subscript 2 equals square root of T subscript 1 over T subscript 2 end root 

      ถ้าไม่เกิน 45°C ใช้สูตรลัดได้สามารถหา
      อัตราเร็วเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ t (°C )
      v subscript t equals 331 plus 0.6 t
    • กราฟความเร็วเสียงกับเวลา

      v1=331+0.6t
      v1=0.6t+331
      เทียบสมการ
      y=ax+b
      ความชัน = 0.6
      จุดตัดแกน y=331
ความเร็วเสียงในตัวกลางใดๆ เทียบกับค่า
bulk modulus

v equals square root of fraction numerator b u l k space m o d u l u s over denominator v o l u m e space d e n s i t y end fraction end root
  • การสะท้อนและการหักเห
    การสะท้อน: เสียงจะเกิดการสะท้อนได้เมื่อสิ่งกีดขวางมีขนาดเท่ากับหรือใหญ่กว่าความยาวคลื่นเสียง
    การสะท้อนเกิดได้ตลอดเวลา แต่ถ้าเสียงที่สะท้อนกลับมาใช้เวลามากกว่า 0.1 วินาที เราจะแยกได้เป็นสองเสียงว่า “เสียงก้อง” หรือ “เสียงสะท้อนกลับ
    การหักเห: เมื่อเสียงเคลื่อนที่ในตัวกลางต่างชนิดกัน จะเกิดการหักเห

    สูตร
    การหักเหจะมี f คงที่   v subscript 1 over v subscript 2 equals lambda subscript 1 over lambda subscript 2 equals fraction numerator sin theta subscript 1 over denominator sin theta subscript 2 end fraction equals square root of T subscript 1 over T subscript 2 end root
  • การเลี้ยวเบนและการแทรกสอด
    การเลี้ยวเบน: การที่เสียงสามารถเคลื่อนที่อ้อมสิ่งกัดขวางได้
    การแทรกสอด: คลื่นเสียงจากแหล่งกำเนิด 2 แหล่งขึ้นไปรวมกัน ทำให้เกิดการแทรกสอดแบบเสริมและหักล้างกัน