การเคลื่อนที่แบบฮามอนิกอย่างง่าย (3)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

การเคลื่อนที่แบบฮามอนิกอย่างง่าย (3) (ชุดที่ 1)

MEDIUM

การเคลื่อนที่แบบฮามอนิกอย่างง่าย (3) (ชุดที่ 2)

HARD

การเคลื่อนที่แบบฮามอนิกอย่างง่าย (3) (ชุดที่ 3)

เนื้อหา

พลังงานในการเคลื่อนที่
แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย

โดยทั่วไปในการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่ายจะมีพลังงาน 2 ชนิดอยู่ในระบบ
  1. พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
    (Elastic Potential Energy)
     ใช้สัญลักษณ์ U  U equals 1 half k x squared
  2. พลังงานจลน์ (Kinetic Energy)
    พลังงานจลน์จะใช้สัญลักษณ์ K  K equals 1 half m v squared

พลังงานรวมในระบบจะมีค่าคงที่ (E)
โดยจะเป็นผลบวกระหว่างพลังงานศักย์และพลังงานจลน์

                   E equals K plus U

ซึ่งในการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่ายนั้นพลังงานศักย์และจลน์จะมีค่าสลับขึ้นลง แต่พลังงานรวมจะคงที่ ดังภาพข้างล่าง

รูปที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานศักย์
และพลังงานจลน์เทียบกับเวลา

โดยเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ได้ไกลที่สุด พลังงานศักย์จะมีค่ามากที่สุด ในทางกลับกันหากวัตถุอยู่ที่ตำแหน่งระยะกระจัดเท่ากับศูนย์ พลังงานจลน์จะมีค่าสูงสุด จากกราฟเราสามารถสังเกตได้ว่า พลังงานรวมมีค่าขึ้นอยู่กับแอมพลิจูด
                            space space space space space space space E proportional to A squared
K plus U equals 1 half k A squared