การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ (3)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ (3) (ชุดที่ 1)

MEDIUM

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ (3) (ชุดที่ 2)

HARD

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ (3) (ชุดที่ 3)

เนื้อหา

การประยุกต์โปรเจคไทล์

โปรเจคไทล์บนพื้นเอียง



รูปที่ 3.1 แสดงการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
บนพื้นเอียงที่ทำมุม theta space space กับแนวระดับและแสดง
การหาเวกเตอร์องค์ประกอบของความเร่ง
เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก

ถ้าตั้งแกนอ้างอิงตามปกติ มุมที่ใช้พิจารณาจะเป็น
ผลบวกของมุม left parenthesis a plus theta right parenthesis ซึ่งจะยากในการคำนวณ
ดังนั้น เราจะแยกคิดเวกเตอร์องค์ประกอบของค่า
ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง left parenthesis g right parenthesis ออกตามแกนเอียงดังรูป

การพิจารณาการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์บนพื้นเอียง 

  • แยกการพิจารณาการเคลื่อนที่เป็นแนวแกน x apostrophe และแกน y apostrophe เช่นเดียวกับแนวแกน x และแกน y ปกติ 
  • ในแกน x apostrophe จะมีความเร่งเนื่องจากการแยก เวคเตอร์ g with rightwards harpoon with barb upwards on top กระทำ ดังนั้นจะไม่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
  • ในแกน y apostrophe ถ้าเคลื่อนที่เป็นโปรเจคไทล์เต็มรูป จะพิจารณา การกระจัดในแกน y เป็น 0 (s with rightwards harpoon with barb upwards on top subscript y equals 0 with rightwards harpoon with barb upwards on top) เพราะวัตถุกลับเข้าสู่ตำแหน่งเดิม