รูปที่ 2.1 แสดงทิศทางของความเร็วที่เกิดขึ้นในแต่ละแกน
ในการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์เป็นการเคลื่อนที่
ที่เกิดขึ้นใน 2 มิติ (2 แนว) ซึ่งประกอบด้วย
โดยหลักการสำคัญคือ เวลาที่วัตถุใช้เคลื่อนที่ทั้งสองแกนจะเป็นเวลาเดียวกันและแกน X จะไม่มีความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ทำให้ความเร็วในแกน X มีค่าคงที่
ปริมาณของการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์เป็นปริมาณ
เวกเตอร์ ซึ่งจะต้องพิจารณาทั้งขนาดและทิศทางซึ่งต่างจากวิดิโอก่อนหน้านี้ที่เน้นการพิจารณาที่ขนาดอย่างเดียว
ฉะนั้นเมื่อต้องพิจารณาทิศทางด้วยแล้วนั้นโดยส่วนมากจะนิยมกำหนดทิศตามแกนทั่วไป คือ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ มีสูตรสำคัญที่เกี่ยวข้องดังนี้โดยแบ่งออกเป็นสูตรทั่วไปและสูตรที่พิจารณาแต่ละแกนการเคลื่อนที่
เพื่อความง่ายในการพิจารณาสูตรเพื่อมาใช้คำนวณ เราจะแบ่งแยกสูตรที่ใช้คำนวณบ่อยตามแกนการเคลื่อนที่ที่เราพิจารณาอยู่
แกน Y | แกน X |
โดยความสัมพันธ์ระหว่าง และมุม θ (Theta) ที่กระทำกับแกน x (ดังรูปที่ 2.1) เป็นดังนี้
หมายเหตุ และ
ในที่นี้คือความเร็วใด ๆ ไม่จำเป็นต้องเป็นความเร็วปลาย
การหาความเร็วลัพธ์จากความเร็วในแต่ละแกนสามารถทำได้จาก ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หากอยากทราบว่า ความเร็วในขณะนั้นทำมุมกับแกนต่างๆ เท่าใด สมมติว่าเราต้องการจะทราบขนาดของมุมที่ความเร็วกระทำกับแนวระดับ เราจะสามารถหามุมได้จาก ความสัมพันธ์ระหว่างมุมกับด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก
หากต้องการทราบว่ามุมที่เทียบกับแนวดิ่งมีค่าเท่ากับเท่าใด ผู้เรียนแค่ทำการกลับเศษส่วนของความเร็วก็จะได้มุมที่ต้องการ