การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ (2)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ (2) (ชุดที่ 1)

MEDIUM

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ (2) (ชุดที่ 2)

HARD

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ (2) (ชุดที่ 3)

เนื้อหา

โปรเจคไทล์



รูปที่ 2.1 แสดงระยะกระจัดในแกน X และ Y
พร้อมทั้งแสดงความเร็วต้นของการเคลื่อนที่
และองค์ประกอบของความเร็วต้นในแกน X และ Y

ในการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ปริมาณต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่มักทำมุมกับแกนของการเคลื่อนที่ ซึ่งหากเราพิจารณาที่สูตรการเคลื่อนที่จากวิดิโอที่แล้วตามกรณีดังต่อไปนี้จะทำให้เราทราบสูตรที่ใช้หาปริมาณต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น

  1. กรณีความเร็วต้นทำมุม theta space กับแนวระดับหรือแนวดิ่ง
    พิสูจน์   
          เอกลักษณ์ตรีโกณ
          sin left parenthesis 2 theta right parenthesis equals 2 sin theta cos

    แนวดิ่ง
    space space space space space space space space space space space space space space space space S equals u t minus 1 half g t squared
space space space space space space space space space space space space space space space space space 0 equals left parenthesis u space sin space theta space times t right parenthesis minus left parenthesis 1 half g t squared right parenthesis
            space space space space space space space t equals fraction numerator 2 u space sin space theta space over denominator g end fraction space space space(เวลาทั้งหมดที่เคลื่อนที่)
                 t equals fraction numerator u space sin theta over denominator g end fraction      (เวลาที่เคลื่อนที่ขึ้นจุดสูงสุด)
    แนวราบ
                S equals v subscript x t
S subscript x equals u c o s theta left parenthesis fraction numerator 2 u times sin theta over denominator g end fraction right parenthesis
S subscript x equals u squared over g left parenthesis 2 s i n theta c o s theta right parenthesis
                S subscript x equals u squared over g s i n left parenthesis 2 theta right parenthesis
                S subscript x equals u squared over g left parenthesis 2 space sin space theta space cos space theta right parenthesis
                S subscript x equals u squared over g sin left parenthesis 2 theta right parenthesis  (ระยะกระจัดในแกน X
                                          ตอนที่วัตถุตกถึงพื้น
                                          ถ้าจุดปล่อยกับจุดตก
                                          อยู่สูงเท่ากัน)
    หมายเหตุ ระยะกระจัดที่ไกลที่สุดในแกน X เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ theta spaceมีค่าเท่ากับ 45°
  2. หาระยะกระจัดที่มากที่สุดในแกน Y โดยที่ความเร็วต้นทำมุม theta กับแนวระดับ
    พิสูจน์ หัวใจสำคัญ คือ เมื่อวัตถุขึ้นไปสูงที่สุดในแกน Y ความเร็วในแนวดิ่งจะเป็นศูนย์

                    v squared equals u squared plus 2 g S
0 equals left parenthesis u space s i n space theta right parenthesis squared minus 2 g S subscript y
                  S subscript y equals fraction numerator u squared space sin squared space theta over denominator 2 g end fraction   (ระยะกระจัดที่
                                             มากที่สุดในแกน Y)