(2) กราฟของฟังก์ชัน
(3) ถ้า
(4) ถ้า
(5) ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลเป็นฟังก์ชัน
(6) ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลเป็นฟังก์ชัน
(7)
ลักษณะของฟังก์ชันเลขชี้กำลังหรือเอกซ์โพเนนเชียลเป็นฟังก์ชันที่มีตัวแปรเป็นตัวชิ้กำลังและมีฐานเป็นจำนวนบวกที่ไม่เท่ากับ 1 ดังนั้นถ้าให้ R เป็นเซตของจำนวนจริง และ f เป็นฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจะได้ว่า
พิจารณาค่าของ a ซึ่งเป็นฐาน จะพบว่าค่า a ถูกแบ่งเป็น 2 ช่วงคือ และ
จากลักษณะของฐานทำให้ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลถูกแบ่งออก 2 ลักษณะ
ฟังก์ชันลด | ฟังก์ชันเพิ่ม |
![]() | ![]() |
1. จากลักษณะกราฟ จะเป็นฟังก์ชัน 1-1 จะได้ว่า ขณะที่ x มีค่าเพิ่มขึ้น ค่า y ก็มีค่าลดลง ขณะที่ x มีค่าลดลง ค่า y ก็มีค่าเพิ่มขึ้น | 1. จากลักษณะกราฟ จะเป็นฟังก์ชัน 1-1 จะได้ว่า ขณะที่ x มีค่าเพิ่มขึ้น ค่า y ก็มีค่าเพิ่มขึ้น ขณะที่ x มีค่าลดลง ค่า y ก็มีค่าลดลง |
2. จากคุณสมบัติของฟังก์ชันลดจะได้ว่า | 2.จากคุณสมบัติของฟังก์ชันเพิ่มจะได้ว่า |
3. | |
4. กราฟของฟังก์ชันจะตัดแกน y ที่จุด (0,1) สิ่งที่ควรรู้เนื่องจาก |
จากทั้ง 2 กรณี จะได้ข้อสรุปดังนี้
เมื่อ กราฟที่มีค่า
มากกว่า จะอยู่ต่ำกว่ากราฟที่มีค่า
น้อยกว่า
หรือกล่าวได้ว่า กราฟของฟังก์ชันลด ค่า ยิ่งน้อย ยิ่งอยู่ใกล้แกน
มาก
แต่ที่ จะกลับกัน ดังรูป
เมื่อ กราฟที่มีค่า
มากกว่า จะอยู่ต่ำกว่ากราฟที่มีค่า
น้อยกว่า หรือกล่าวได้ว่า กราฟของฟังก์ชันเพิ่ม
ค่า ยิ่งมาก ยิ่งอยู่ใกล้แกน
มาก
แต่ที่ จะกลับกัน ดังรูป
ตัวอย่าง
จะมีกราฟเหมือนภาพสะท้อนของ
เทียบกับแกน Y (มีแกน Y เป็นแกนสมมาตร)
จะมีกราฟเหมือนภาพสะท้อนของ
เทียบกับแกน Y (มีแกน Y เป็นแกนสมมาตร)
เพราะว่าดังนั้น กราฟของ
จะมีกราฟเหมือน
อีกตัวอย่างด้วยเหตุผลทำนองเดียวกัน
ดังนั้น กราฟของเมื่อ
หรือ
จะเป็นภาพสะท้อนของ
เทียบกับแกน Y หรือกราฟของ
จะเหมือนกับกราฟของ
กราฟของเมื่อ
จะมีลักษณะคล้ายกราฟของ
เสมือนเรายืดหรือหดกราฟของและกราฟจะตัดแกน Y ที่จุด (0, m)
ตัวอย่าง
จะตัดแกน Y ที่จุด (0, 0.3)
จะตัดแกน Y ที่จุด (0, 5)
ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าสมการดังกล่าวเป็นฟังก์ชันลดหรือฟังก์ชันเพิ่ม
1.ฟังก์ชันลด
![]()
2.ฟังก์ชันเพิ่ม a > 1
3.ฟังก์ชันเพิ่ม
4.ฟังก์ชันลด
5.ฟังก์ชันลด
6.ฟังก์ชันลด
7.ฟังก์ชันลด
8.ฟังก์ชันลด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลเป็นฟังก์ชันที่มีความสำคัญในวิทยาการด้านต่างๆ โดยสามารถนำความรู้เรื่องฟังก์ชันดังกล่าวไปประยุกต์ในเรื่องที่เกี่ยวกับการเพิ่มหรือลดของสิ่งต่างๆ เช่น ในเรื่องของจำนวนประชากร การแผ่รังสีของสารกัมมันตรังสี อุณภูมิของสารบางชนิด หรือเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน เช่น การคิดยอดเงินฝาก เป็นต้น
ตัวอย่าง ในชีวิตประจำวัน
แบคทีเรียเป็นสัตว์เซลล์เดียวขยายพันธุ์โดยการแบ่งเซลล์ จากหนึ่งเซลล์เป็นสองเซลล์ จากสองเซลล์เป็นสี่เซลล์ไปเรื่อยๆ การแบ่งเซลล์ของแบคทีเรียแต่ละชนิดจะใช้เวลาและอุณหภูมิที่เหมาะสมต่างๆ กัน เช่น แบททีเรียเอสเคอริเคียโคไล เป็นแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคท้องร่วง ขยายพันธุ์ในอุณหภูมิที่เหมาะสม 37 องศาเซลเซียส การแบ่งเซลล์แต่ละรุ่นจะใช้เวลาประมาณ 20 นาทีดังนี้
ครั้งที่ 0 จำนวนแบคทีเรีย (เซลล์) 1 = 1
ครั้งที่ 1 จำนวนแบคทีเรีย (เซลล์) 2 = 2
ครั้งที่ 2 จำนวนแบคทีเรีย (เซลล์) 2x2 = 4
ครั้งที่ 3 จำนวนแบคทีเรีย (เซลล์) 2x2x2 = 8
ครั้งที่ 4 จำนวนแบคทีเรีย (เซลล์) 2x2x2x2 = 16
ครั้งที่ n จำนวนแบคทีเรีย (เซลล์) 2x2x2x … x2 = 2n