สมดุลไอออน (กรด-เบส)
ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียสเบรินสเตด-ลาวรี และลิวอิส
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ทฤษฎีกรด-เบส ของเบรินสเตด-ลาวรี
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การแตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณค่า pH ความเข้มข้นของให้ไฮโดรเนียมไอออนหรือไฮดรอกไซต์ไอออนของกรดและเบส
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ปฏิกิริยาการสะเทิน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
หลักการและอินดิเคเตอร์สำหรับการไทเทรตกรด-เบส
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณปริมาณสารหรือความเข้มข้นของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สารละลายบัฟเฟอร์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สืบค้นข้อมูลตัวอย่างการใช้ประโยชน์และการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับกรด-เบส
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

การแตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

การแตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส

MEDIUM

การแตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส

HARD

การแตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส

เนื้อหา

การแตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส

การแตกตัวของกรดและเบส สารละลายกรดและสารละลายเบสจัด เป็นสารละลายอิเล็กโตรไลต์

โดยสารละลายอิเล็กโตรไลต์สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

  1. สารละลายอิเล็กโตรไลต์แก่
  2. สารละลายอิเล็กโตรไลต์อ่อน
  • สารละลายกรดแก่และเบสแก่ จัดเป็น สารละลายอิเล็กโตรไลต์แก่
  • สารละลายกรดอ่อนและเบสอ่อน จัดเป็น สารละลายอิเล็กโตรไลต์อ่อน

การแตกตัวของกรดแก่และเบสแก่

สารละลายกรดแก่และเบสแก่ จัดเป็น สารละลายอิเล็กโตรไลต์แก่ เนื่องจากกรดแก่และเบสแก่สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้สมบูรณ์ เกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเพียงอย่างเดียว  ไม่เหลือโมเลกุลของกรดแก่ หรือ เบสแก่ในระบบอีกเลย

ดังนั้น ถ้าทราบความเข้มข้นของกรดแก่หรือเบสแก่ ก็สามารถคำนวณหาความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) ได้ ดังสมการ (1) แสดงการแตกตัวของกรดแก่ไนตริก (HNO3)

จากสมการ (1) ซึ่งเป็นสมการเคมีสมดุลแล้ว จึงทราบอัตราส่วนจำนวนโมลของสารทุกชนิดในปฏิกิริยา

ดังนั้น ถ้าสารละลายกรด HNO3 มีความเข้มข้น 1 โมลาร์ ก็จะพบว่าในสารละลายมี H3O+ ไอออน และ NO3- ไอออน มีความเข้มข้น 1 โมลาร์ เช่นกัน

เมื่อพิจารณาการแตกตัวของเบสแก่ Ba(OH)2 เมื่อละลายเกลือในน้ำ และได้สารละลายมีความเข้มข้น 1 โมลาร์ ดังสมการ (2)

จากสมการ (2) ซึ่งเป็นสมการเคมีสมดุลแล้ว ถ้าสารละลายเบส Ba(OH)2 มีความเข้มข้น 1 โมลาร์ ก็จะมีพบว่าในสารละลายมี Ba2+เข้มข้น 1 โมลาร์ ส่วน OH- ไอออน มีความเข้มข้น 2 โมลาร์ ตามอัตราส่วนจำนวนโมลในการสมดุลสมการเคมี

การแตกตัวของกรดอ่อนและเบสอ่อน

สารละลายกรดอ่อนและเบสอ่อน จัดเป็น สารละลายอิเล็กโตรไลต์อ่อนเนื่องจากกรดอ่อนและเบสอ่อน แตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน เหลือโมเลกุลของกรดอ่อนหรือเบสอ่อน ผสมอยู่ในสารละลาย ปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดอ่อน/เบสอ่อนเป็นปฏิกิริยาย้อนกลับได้ เกิดสภาวะสมดุล

ดังนั้น ณ ภาวะสมดุลจึงมีทั้งโมเลกุลของกรด/เบส และไอออนที่ได้จากการแตกตัว

ตัวอย่างเช่น การแตกตัวของกรดอ่อน HA ที่แตกตัวได้เพียงร้อยละ 5

ดังนั้น หากกรดอ่อน HA มีความเข้มข้นเริ่มต้น 1 โมลาร์ แล้วเกิดการแตกตัวได้ร้อยละ 5

หมายความว่า ในสารละลายปริมาตร 1 ลิตร เริ่มต้นมีกรด HA ละลายอยู่ 1 โมล เมื่อกรด HA แตกตัวเป็น H3O+ ไอออน และ A- ไอออน จนถึงภาวะสมดุล จะพบว่ามี H3O+ ไอออน และ A- ไอออน อยู่ในสารละลายอย่างละ 0.05 โมล และมีกรด HA อยู่ 0.95 โมล

การเปรียบเทียบว่ากรดอ่อนชนิดใดแตกตัวได้ดีกว่ากัน

ต้องพิจารณาที่ค่าคงที่สมดุล (Ka) กรดชนิดใดมีค่า Ka สูงกว่า แสดงว่าสามารถแตกตัวได้มากกว่า การคำนวณหาค่า Ka ต้องหาจากสมการสมดุลของกรด HA

แสดงได้ดังนี้

กรณี ที่กรดอ่อนที่สามารถแตกตัวได้มากกว่า 1 ขั้น เช่น H2A สามารถแตกตัวได้ 2 ขั้น จึงมีค่า Ka1 และ Ka2 ในแต่ละขั้นจะแตกตัวให้ H+  1 โมล

ดังนี้ คือ

ขั้นที่ 1 ได้ว่า

ดังนั้น

ขั้นที่ 2 ได้ว่า

ดังนั้น

ในทำนองเดียวกัน H3A สามารถแตกตัวได้ 3 ขั้น จึงมีค่า Ka1 Ka2 และ Ka3

โดยปกติค่า Ka1 > Ka2 > Ka3

การแตกตัวของเบสอ่อนพิจารณาได้ในทำนองเดียวกับกรดอ่อน

ตัวอย่างเช่น สารละลายเบสอ่อน XOH เข้มข้น 0.20 โมลาร์ แตกตัวให้ร้อยละ 5 สมการสมดุลของการแตกตัวของเบส XOH แสดงดังสมการ (4)

แสดงว่าในสารละลายปริมาตร 1 ลิตร เริ่มต้นมีเบส XOH ละลายอยู่ 0.20 โมล เมื่อเบส XOH แตกตัวเป็น X+ ไอออน และ OH- ไอออน จนถึงภาวะสมดุล จะพบว่ามี X+ ไอออน และ OH- ไอออน อยู่ในสารละลายอย่างละ 0.01 โมล และมีเบส XOH อยู่ 0.19 โมล

กรณี เบสอ่อนที่สามารถแตกตัวได้มากกว่า 1 ขั้น เช่น X(OH)2 สามารถแตกตัวได้ 2 ขั้น จึงมีค่า Kb1 และ Kb2 ในแต่ละขั้นจะแตกตัวให้ OH- 1 โมล

กรณี เบส X(OH)3 สามารถแตกตัวได้ 3 ขั้น จึงมีค่า Kb1 Kb2 และ Kb3

และเช่นเดียวกันค่า Kb1 > Kb2 > Kb3