สารกำหนดปริมาณ / ปริมาณสารสัมพันธ์
สมการเคมีและดุลสมการเคมี
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับมวลสาร
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับความเข้มข้นของสารละลาย
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับปริมาณแก๊ส
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีหลายขั้นตอน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สารกำหนดปริมาณในปฏิกิริยาเคมี
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ผลได้ร้อยละของผลิตภัณฑ์ในปฏิกิริยาเคมี
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับปริมาณแก๊ส

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับปริมาณแก๊ส

MEDIUM

คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับปริมาณแก๊ส

HARD

คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับปริมาณแก๊ส

เนื้อหา

คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับปริมาณแก๊ส

กฏของอะโวกาโดร กล่าวว่า เมื่อความดันและอุณหภูมิคงที่ ปริมาณแก๊สจะแปรผันตรงกับปริมาตรของแก๊ส หมายความว่า เมื่อปริมาณแก๊สมาก ปริมาตรของแก๊สย่อมจะมากขึ้นตามไปด้วย

นอกจากนั้นยังพบว่า ที่สภาวะมาตรฐาน (standard temperature and pressure, STP) ที่ความดัน 1 บรรยากาศ และ อุณหภูมิ 0°C แก๊สทุกชนิดปริมาณ 1 โมล จะมีปริมาตรเท่ากัน และเท่ากับ 22.4 ลิตร

ดังนั้น สารที่มีสถานะแก๊สจึงสามารถคำนวณปริมาณจำนวนโมลของแก๊สนั้นได้ โดยคำนวณจากปริมาตรของแก๊ส ณ สภาวะมาตรฐาน STP แล้วใช้ความสัมพันธ์ที่ว่า “แก๊สปริมาณ 1 โมล จะมีปริมาตรเท่ากับ 22.4 ลิตร

ตัวอย่าง การเผาไหม้ที่สมบูรณ์ของเมทานอล (CH3OH) หนัก 209 กรัม จะเกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ปริมาตรกี่ลิตร ที่สภาวะมาตรฐาน STP

วิธีทำ

  1. ขั้นแรก เขียนและสมดุลสมการเคมี
  1. สมการ (1) เป็นสมการเคมีที่ดุลแล้ว จากเลขสัมประสิทธิ์ที่ใช้ดุลพบว่า CH3OH จำนวน 2 โมล เมื่อเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์จะเกิด CO2 จำนวน 2 โมล
  2. คำนวณหาจำนวนโมลของ CH3OH จากมวล 209 กรัม

  1. เปลี่ยนจำนวนโมลของ CH3OH ให้เป็นจำนวนโมลของ CO2 โดยใช้ความสัมพันธ์ของจำนวนโมลของ CH3OH และ CO2 ในสมการที่สมดุลแล้ว จากสมการ (1) พบว่า CH3OH 2 โมล จะเกิด CO2 2 โมล

  1. คำนวณหาปริมาตรที่เกิดขึ้นของแก๊ส CO2 จากจำนวนโมล ของ CO2

***ข้อควรสังเกต การคำนวณตัวอย่างนี้ สามารถทำได้โดยวิธีการตัดหน่วย โดยสามารถหาคำตอบได้ภายในบรรทัดเดียว***

ดังนี้

การคำนวณโดยวิธีการตัดหน่วย อธิบายได้ดังนี้

  1. หาจำนวนโมลของ CH3OH จาก กรัม CH3OH และมวลโมเลกุล CH3OH ..... ขั้นตอนนี้ ได้หน่วย โมล CH3OH
  2. หาจำนวนโมลของ CO2 จากความสัมพันธ์ของเลขสัมประสิทธิ์ของการดุลสมการเคมีระหว่าง CH3OH กับ CO2 ….. ขั้นตอนนี้ ได้หน่วย โมล CO2
  3. คำนวณหาปริมาตรของ CO2 หากลำดับขั้นตอนการตัดหน่วยทำได้ถูกต้อง จะคงเหลือหน่วยของจำนวนที่ต้องการหาเท่านั้น