สารกำหนดปริมาณ / ปริมาณสารสัมพันธ์
สมการเคมีและดุลสมการเคมี
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับมวลสาร
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับความเข้มข้นของสารละลาย
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับปริมาณแก๊ส
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีหลายขั้นตอน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สารกำหนดปริมาณในปฏิกิริยาเคมี
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ผลได้ร้อยละของผลิตภัณฑ์ในปฏิกิริยาเคมี
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับความเข้มข้นของสารละลาย

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับความเข้มข้นของสารละลาย

MEDIUM

คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับความเข้มข้นของสารละลาย

HARD

คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับความเข้มข้นของสารละลาย

เนื้อหา

คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับความเข้มข้นของสารละลาย

ความเข้มข้นของสารละลาย บอกปริมาณตัวละลาย ที่ละลายอยู่ในสารละลาย

ความเข้มข้นของสารละลายมีหลายหน่วย เช่น

  • โมลาร์ หมายถึง จำนวนโมลของตัวละลายที่มีอยู่ในสารละลายปริมาตรหนึ่งลิตร หรือ
  • โมแลล หมายถึง จำนวนโมลของตัวละลายที่มีอยู่ในตัวทำละลายหนึ่งกิโลกรัม หรือ
  • ร้อยละโดยมวลของตัวละลายในสารละลาย ในการคำนวณหาปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยโมลาร์

ดังนั้น จึงขออธิบายการคำนวณเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยโมลาร์เท่านั้น

จากความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยโมลาร์ ต้องคำนวณหาจำนวนโมลของตัวละลายที่มีอยู่ในสารละลายเป็นลำดับแรก แล้วใช้ความสัมพันธ์จำนวนโมลของสารจากสมการเคมีที่สมดุลแล้ว เพื่อคำนวณหาปริมาณสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยา

ตัวอย่าง ในอุตสาหกรรมฟิลม์ถ่ายรูปต้องใช้ ซิลเวอร์โบรไมด์ (AgBr) ในปริมาณมาก ซึ่งสารซิลเวอร์โบรไมด์สามารถเตรียมได้จากการผสมสารละลายของซิลเวอร์ไนเตรท (AgNO3) เข้ากับสารละลายแคลเซียมโบรไมด์ (CaBr2)  แล้วจะเกิดตะกอนของซิลเวอร์โบรไมด์

ดังสมการ (1)

เมื่อผสมสารละลาย AgNO3 ความเข้มข้น 0.115 M ปริมาตร 50.0 mL กับสารละลาย CaBr2 ความเข้มข้น 0.125 M เราจะต้องใช้สารละลาย CaBr2 ปริมาตรกี่มิลลิลิตร หากต้องการให้เกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์

วิธีทำ

  1. ขั้นแรก ตรวจสอบสมการที่ให้มาว่าเป็นสมการเคมีที่ดุลแล้วหรือไม่ หากยังไม่สมดุลเราต้องทำการดุลสมการเคมีเสียก่อน หรือหากไม่มีสมการเคมีให้ เราต้องเขียนและสมดุลสมการเคมีก่อน
  2. สมการ (1) เป็นสมการเคมีที่ดุลแล้ว จากตัวเลขสัมประสิทธิ์ที่ใช้ดุลพบว่า AgNO3 จำนวน 2 โมล ต้องการใช้ CaBr2 จำนวน 1 โมล เพื่อทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีที่สมบูรณ์
  3. คำนวณหาจำนวนโมลของ AgNO3 จากค่าความเข้มข้นในหน่วยโมลาร์ และปริมาตรที่ใช้ของ AgNO3


  4. เปลี่ยนจำนวนโมลของ AgNO3 ให้เป็นจำนวนโมลของ CaBr2 โดยใช้ความสัมพันธ์ของจำนวนโมลของ AgNO3 และ CaBr2 ในสมการที่สมดุลแล้ว จากสมการ (1) พบว่า AgNO3 2 โมล ต้องใช้ CaBr2 1 โมล

  5. คำนวณหาปริมาตรที่ต้องการใช้ของ CaBr2 จากจำนวนโมล และความเข้มข้นในหน่วยโมลาร์ของ CaBr2


***ข้อควรสังเกต การคำนวณตัวอย่างนี้ สามารถทำได้โดยวิธีการตัดหน่วย ซึ่งสามารถหาคำตอบได้ภายในบรรทัดเดียว***

ดังนี้

การคำนวณโดยวิธีการตัดหน่วย อธิบายได้ดังนี้

  1. หาจำนวนโมลของ AgNO3 จาก ความเข้มข้นหน่วยโมลาร์ และปริมาตรของ AgNO3 ..... ขั้นตอนนี้ ได้หน่วย โมล AgNO3
  2. หาจำนวนโมลของ CaBr2 จากความสัมพันธ์ของเลขสัมประสิทธิ์ของการดุลสมการเคมีระหว่าง AgNO3 กับ CaBr2 ..... ขั้นตอนนี้ ได้หน่วย โมล CaBr2
  3. คำนวณหาปริมาตรของ CaBr2 หากลำดับขั้นตอนการตัดหน่วยทำได้ถูกต้อง จะคงเหลือหน่วยของจำนวนที่ต้องการหาเท่านั้น